วันนี้เราจะพาคุณไปดูความแตกต่างของโฉนดที่ดินแต่ผืนว่ามีความแตกต่างกันอย่ า งไร ก่อนที่คุณนั้นจะทำการซื้ อข า ย กับเจ้าของที่ดินเจ้าของเดิม กับ 7 วิ ธีดูความต่างของโฉนดที่ดิน จะซื้ อที่ดินควรรู้ไว้ ไปดูกันว่าโฉนดที่ดินนั้นมีความแตกต่างกันอย่ า งไร และสามารถทำการซื้ อข า ยได้หรือเปล่า
ก่อนจะทำการซื้ อข า ยที่ดินทุกครั้ง ควรทำการศึกษาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับที่ดิน ไม่ว่าจะเป็นประเภทของโฉนดที่ดิน หรือความหมายของสีครุฑบนโฉนดที่ดินว่าแตกต่างกันอย่ างไร เพราะโฉนดที่ดิน มีทั้งแบบครอบครองได้ต ามกฏหมาย และแบบที่ไม่สามารถครอบครอง หรือซื้ อ-ข า ย-โอน ได้ รู้เอาไว้เพื่อหลีกเลี่ยงการโดน โ ก ง
โฉนดที่ดิน มีทั้งหมด 7 ประเภท แบ่งออ กได้ดังนี้
1 = ที่ดิน น.ส.4
จะมีสัญลักษณ์ตัวแทนของโฉนดที่ดิน เป็นครุฑสีแดง ซึ่งโฉนดที่ดินประเภทนี้ ผู้เป็นเจ้าของมี ก ร ร มสิทธิในที่ดิน สามารถซื้ อ-ข า ย-โอน ได้ทั้งหมด แต่ในกรณีที่มีผู้อื่น มาสร้างบ้านอาศัยอยู่อย่ างเปิดเผย หรือผู้อื่นครอบครองเป็นเวลาติดต่อกัน 10 ปี ผู้ถือโฉนดที่ดินนี้ ก็จะหมดสิทธิลงทันที
2 = น.ส.3 หรือ หนังสือรับรองการทำประโยชน์
2.1 ประเภท น.ส.3 และ น.ส.3 ข. จะมีสัญลักษณ์ตัวแทนของโฉนดที่ดิน เป็นครุฑสีดำ เรียกง่ายๆว่า ‘หนังสือรับรองการทำประโยชน์’ เป็นที่ดินที่ไม่มีรูปถ่ายทางอาศ เป็นเพียงแค่เอ กสาร ไม่ใช่โฉนดที่ดิน โดยเอ กสารจะถูกออ กโดย นายอำเภอท้องที่
ใช้เป็นหนังสือรับรองแสดงถึงสิทธิ์การครอบครอง แต่ไม่มี ก ร ร มสิทธิ ไม่ได้รับการรับรองอย่ างเป็นทางการ จะซื้ อข า ยต้องรอประกาศจากราชการ 30 วัน หากไม่มีคนคัดค้าน ถึงจะสามารถซื้ อ-ข า ยได้ และต้องทำการซื้ อข า ยต่อหน้าเจ้าหน้าที่ ที่กรมที่ดิน เพื่อเจ้าหน้าที่จะได้ตรวจสอบอย่ างละเอียดอีกครั้งว่าอยู่ในเขตหวงห้าม หรือพื้นที่ป่าหรือไม่
2.2 ประเภท น.ส.3 ก. จะมีสัญลักษณ์ตัวแทนของโฉนดที่ดิน เป็นครุฑสีเขียว เป็นที่ดินที่ถูกยกระดับขึ้น มาจาก น.ส 3 โดยจะมีการรางวัด มีภาพถ่ายทางอากาศ ที่สำคัญสามารถนำไปจำนองได้ และสามารถไปยื่นเรื่องเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดินได้ในอนาคต ซึ่งมีความแตกต่างชัดเจนกับ น.ส.3 และ น.ส.3 ข. แต่ก็สามารถถูกยึดสิทธิ์การครอบครองได้ ในกรณีที่ปล่อยที่ดินไว้ ไม่ทำประโยชน์อะไรในที่ดินนั้นๆเลย
3 = น.ส.2 หรือ ใบจอง
เป็นหนังสือแสดงสิทธิการครอบครองชั่ วคราว โดยทางราชการออ กให้ ไม่สามารถซื้ อ-ข า ย-โอน จำนองก็ไม่ได้ แต่สามารถส่ งต่อโดยการโอนทางมรดกตกทอ ดแก่ทาย าทเท่านั้น และสิทธิจะหมดลงเมื่อ ที่ดินนี้ไม่ได้ทำประโยชน์ติดต่อกัน 3 ปี ทางราชการจะทำการยึดคืนได้
4 = ภ.บ.ท. 5 หรือ เอ กสารสิทธิ์ที่ราชการออ กให้
เป็นแบบยื่นภาษีบำรุงท้องที่ หรือเอ กสารรับรองการ เ สี ย ภาษี ไม่ใช่เอ กสารสิทธิ ไม่สามารถซื้ อ-ข า ย-โอน ยกเว้นตกทอ ดมรดก หากซื้ อไปก็อาจจะ สู ญ ไปได้ ไม่สามารถนำไปอ้างในศาลได้ว่าเป็นเจ้าของที่ดินนั้น ( แบบนี้แหละที่โดน โ ก ง กัน มาก ) สิทธิจะหมดลงเมื่อ ที่ดินไปทับซ้อนพื้นที่ห้ามครอบครอง เช่น พื้นที่ป่าไม้ เป็นต้น
5 = น.ค.3
เป็นหนังสือแสดงการทำประโยชน์ ออ กโดยนิคมสร้างตนเอง จัดที่ดินเพื่อ การครองชีพ
6 = ส.ท.ก.
เป็นหนังสือสิทธิทำกินในเขตป่าไม้ ซึ่งทางกรมป่าไม้เป็นผู้ออ กให้ มีสิทธิในการครอบครองเพื่อทำประโยชน์ แต่ไม่มี ก ร ร มสิทธิ ไม่สามารถซื้ อ-ข า ย-โอน ยกเว้นตกทอ ดมรดก สิทธิจะหมดลงเมื่อ ไม่ทำประโยชน์ติดต่อกัน 2 ปี ทางราชการจะทำการยึดคืนได้
7 = ส.ป.ก หรือ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรก ร ร ม
จะมีสัญลักษณ์ตัวแทนของโฉนดที่ดิน เป็นครุฑสีน้ำเงิน เป็นสิทธิครอบครองเพื่อทำประโยชน์ สิทธิในการทำเกษตรก ร ร ม ไม่ใช่ ก ร ร มสิทธิ์ในที่ดิน แค่เป็นสิทธิ์ครอบครองที่ดินเพื่อใช้ประโยชน์ทำเกษตรก ร ร ม ไม่สามารถซื้ อ-ข า ย-โอน
แต่จะมีสัญญาเช่า 99 ปี ซึ่งเป็นการเช่าแบบระยะย าว ( ในส่วนนี้หล า ยคนยังไม่ทราบ ก็อาจจะโดนหลอ กได้ ) แต่ที่ดิน สปก. สามารถส่ งต่อให้ลูกหลานได้ โดยมีเงื่อนไข ถ้าหากว่ารัฐบาลต้องการยึดที่ดินคืน ก็ไม่สามารถเรียกร้องสิทธิ์ใดๆได้ ไม่สามารถออ กเป็นโฉนดได้ สิทธิจะหมดลงเมื่อ ข า ดคุณสมบัติ หรือฝ่าฝืนระเบียบที่ตั้งไว้
ดังนั้น ก่อนตัดสินใจทำการซื้ อข า ยที่ดิน ควรจะดูให้ดีๆก่อนว่าโฉนดที่ดินพื้นนั้น เป็น ก ร ร มสิทธิของเจ้าของ สามารถซื้ อข า ยได้ต ามกฏหมายหรือไม่ เพราะโฉนดที่สามารถซื้ อข า ยเป็น ก ร ร มสิทธิเจ้าของนั้น มีเพียงแบบเดียว คือ น.ส.4 ซึ่ง น.ส.4 บางประเภทก็ไม่สามารถซื้ อข า ยได้
ที่มา : bitcoretech